w w w .b u d d h a d a s a .in fo · 2017. 3. 5. · คณะธรรมทาน ไชยา...

997

Upload: others

Post on 10-Sep-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

    กองตํารวจคณะธรรมทาน แปลและรอยกรอง

    ธรรมทานมูลนิธิ จัดพิมพดวยดอกผลทุนพระยาลัดพลีธรรมประคัลภ

    เปนหนังสืออันดับที่สาม ในหนังสือชุด “ลัดพลีธรรมประคัลภอนุสรณ”

    เปนการพิมพครั้งที่ ๑ ของหนังสือนี้ จํานวน ๑,๕๐๐ ฉบับ

    (ลิขสิทธ์ิไมสงวนสําหรับการพิมพแจกเปนธรรมทาน,สงวนเฉพาะการพิมพจําหนาย)

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • คณะธรรมทาน ไชยา จัดพิมพ

    พิมพครั้งที่หนึ่ง กันยายน ๒๕๒๑

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • การรอยกรองและจัดทําหนังสือเลมนี้

    อุทิศ เปนถามพลี แตบรรดาพระอรหันตสาวก

    ของพระผูมีพระภาคเจา และ

    เพ่ือเปนกําลังใจและแนวทาง แตเพ่ือนสัตวผูขุดคนขุมทรัพย

    [๓]

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ใจความสําคัญ เปนการรวบรวมเรื่อง อทัปปจจยตา ในสวนของปฏิจจสมุปบาทมา อยางครบถวน เพียงพอที่จะศึกษาเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท อยาง ชัดแจงถึงที่สุด ใหสมกับพระพุทธภาษิตที่วา “ผูใดเห็นปฏิจจสมุป บาทผูนั้นเห็นธรรม, ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นตถาคต” ดังที่ปรากฏ อยูในหนังสือเลมนี้แลว. นับเปนการเห็นพระพุทธองคในภาษา ธรรมซึ่งเกื้อกูลแกการบรรลุมรรคผลนิพพาน เปนอยางยิ่ง.

    -ผูรวบรวม

    มีปทานุกรมคําสําคัญ, ลําดับหมวดธรรม อยูทายเลม.

    [๔]

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

    [๕]

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • อักษรยอ (เพื่อความสะดวกแกผูที่ยังไมเขาใจเรื่องอักษรยอที่ใชหมายแทนชื่อคัมภีร ซึ่งมีอยูโดยมาก)

    มหาวิ.วิ.มหาวิภังค วินัยปฏก ภิกฺขุนี.วิ. ภิกขุนีวิภังฺค ” มหา.วิ.มหาวัคค ” จุลฺล.วิ จุลลวัคค ” ปริวาร. วิ. ปริวารวัคค ” สี. ที. สีลขันธวัคค ทีฑนิกาย มหา. ที. มหาวัคค ” ปา. ที. ปาฏิกวัคค ” มู. ม.มูลปณณาสก มัชฌิมนิกาย ม.ม. มูลปณณาสก ” อุปริ.ม. อุปริปณณาสก ” สคา. สํ. สคาถวัคค สังยุตตนิกาย นิทาน.สํ. นิทานวัคค ” ขนฺธ. สํ. ขันธวารวัคค ” สฬา. สํ สฬายตนวัคค ” มหาร.สํ. มหาวารวัคค ” เอก. อํ. เอกนิบาต อังคุตตรนิกาย ทุก.อํ. ทุกนิบาต ” ติก. อํ. ติกนิบาต ” จตุกฺก. อํ. จตุกกนิบาต ” ป ฺจก.อํ. ปญจกนิบาติ ” ฉกฺก. อํ. ฉักกนิบาต ”

    สตฺตก.อํ. สัตตกนิบาต อังคุตตรนิกาย อฏก. อํ. อัฏฐกนิบาต ” นวก.อํ. นวกนิบาต ” ทสก.อํ. ทสกนิบาต ” เอกาทสก.อํ. เอกาสกนิบาต ” ขุ. ขุ. ขุททกปาฐะ ขุททกนิกาย ธ. ขุ. ธัมมบท ” อุ. ขุ. อุทาน ” อิติวุ.ขุ. อิติวุตตกะ ” สุ. ขุ. สุตตนิบาต ” วิมาน.ขุ วิมานวัตถุ ” เปต.ขุ. เปตวัตถุ ” เถร. ขุ. เถรคาถา ” เถรี. ขุ. เถรีคาถา ” ชา. ขุ. ชาดก ” มหานิ. ขุ. เถรีคาถา ” จูฬนิ.ขุ. จูฬนิทเทส ” ปฏิสมฺ. ขุ. ปฏิสัมภิทามัคค ” อปท. ขุ. อปทาน ” พุทฺธว. ขุ. พุทธวงส ” จริยา. ขุ. จริยาปฎิก ”

    ตัวอยางคํายอ : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอานวา ไตรปฎก เลมที่ ๑๔ หนา ๑๗๑ บรรพที่ ๒๔๕ ไตรปฎก = ไตรปฎกฉบับบาลีสยามรัฐ ฉบับอนุสรณรัชกาลที่ ๗ ชุดพิมพครั้งแรก ท. = ทั้งหลาย ปฏิจจฯ = ปฏิจจสมุปบาท พุ. โอ. = พุทธประวัติจากพระโอษฐ

    [๖]

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • คําปรารภ เนื่องในการจัดพิมพหนังสือชุดธรรมโฆษณ เรื่องปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ.

    ----------------------- หนังสือเลมนี้ จัดพิมพขึ้นดวยเงินดอกผลของทุน “’ลัดพลีธรรมประคัลภ ’ และเงิน

    ที่ไดรับคืนมาจากการจําหนายหนังสือชุดจากพระโอษฐตาง ๆ ที่จัดจําหนายในรูปเอากุศลเปนกําไร เพื่อนํามาจัดพิมพหนังสือชุดนั้นสืบตอไป ตามระเบียบที่วางไวเพื่อการนี้, เปนการสรางหนังสือ ชนิดนี้ ขึ้ นไว ในพระพุ ทธศาสนา ตามที่ เห็ นวายั งขาดอยู , หวังว าจะเป นที่ พอใจ และได รับการ อนุโมทนา จากทานทั้งหลายโดยทั่วกัน.

    หนั งสือเลมนี้ จัดเขาในชุดพระไตรปฏกแปลไทย เลขประจําเลมอันดับ ๔ เป น ลําดับที่ ๒๙ แหงการพิมพออกในชุดออกโฆษณ . เนื่องจากมีความหนา ๒ เทาของหนังสือเลมอ่ืน ๆ ราคาที่จําหนายของสวนที่ตองสวนที่ตองจําหนายจึงเปน ๒ เทาของราคาหนังสือเลมอ่ืนในชุดเดียวกัน.

    หนังสือเลมนี้ จะชวยใหคําบรรยายชุดโอสาเรตัพพธรรม เร่ือง “หลักปฏิบัติ เพื่ อการ ดับทุกขโดยอยาใหกระแสแหงปฏิจจสมุปบาทเกิดขึ้นได” ซึ่งบรรยายเมื่อ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๑๔ มีประโยชนถึงที่สุด. ขอใหผูศึกษา นําไปศึกษาประกอบกับคําบรรยายเรื่องนั้น. อีกทางหนึ่งจะชวย ใหสําเร็จประโยชน โดยสมบูรณ ในการที่จะศึกษาและปฏิบัติตามพระพุทธภาษิต ที่วา “ผู ใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นตถาคต , ผู ใดเห็นตถาคต ผูนั้นเห็นธรรม ; ผู ใดเห็นธรรม ผูนั้น เห็นปฏิ จจสมุปบาท , ผู ใดเห็นปฏิ จจสมุปบาท ผู นั้ นเห็นธรรม” ดั งนั้ น. โดยที่ แท แล ว เร่ือง ปฏิจจสมุปบาท ก็คือเร่ืองการเกิดและการดับแหงความทุกข เปนเรื่องตัวแทของพุทธศาสนา โดยตรง ซึ่งผูศึกษาจะทราบไดเองจากขอความหลายๆตอน แหงหนังสือเลมนี้.

    หนั งสือเลมนี้ พิมพขึ้นดวยทุน “ลัดพลีธรรมประคัลภ ” ดังที่ กลาวแลววาขางตัน , คณะผูจัดทําและจัดพิมพ ขออุทิศสวนกุศลแก พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ ผูลวงลับไปแลวเปน พิเศษ ซึ่งผูที่ไดรับประโยชนจากหนังสือเลมนี้ คงจะรูสึกอนุโมทนา โดยทั่วกัน.

    ธรรมทานมูลนิธิ

    เขาพรรษา ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๒๑

    [๗]

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • แถลงการณคณะผูจัดทํา

    หนั งสือเลมนี้ มีขนาดใหญ มากพอที่ จะสะดุดความรู สึ กของผู ที่ ได เห็ นบ าง ไมมาก ก็นอย และทําใหคิดวา เร่ืองเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาทนี้ ทําไมจึงมากถึงอยางนี้ , และนี้ จัดทําขึ้นมา ดวยความประสงคอยางไรกัน. คณะผูจัดทํา ขอแถลงใหทราบดังตอไปน้ี:-

    ผู ที่ ได อ านหนั งสื อเล มนี้ ตลอดแล ว จะเห็ นได ทั นที ว า ทั้ งหมดนี้ เป น เรื่ องเกี่ ยวกั บ ความทุกขและความดับทุกขไปทั้ งนั้น และเนื่ องกับพระพุทธภาษิตที่ตรัสวา “ภิกษุ ท.! กอนแตนี้ ก็ดี บัดนี้ก็ดี ตถาคตบัญญัติ (เพื่ อการสอน) เฉพาะเรื่องความทุกข กับความดับแหงทุกข เทานั้น” ดั งนี้ ; ดั งนั้ นจึ งเป นอันวา เป นเรื่องที่ พระองคทรงพระประสงคที่ จะสั่ งสอนนั่ นเอง. ขอที่ พระองค ตรัสวา ธรรมที่ ตรัสรู เท ากับใบไมทั้ งป า แตที่ นํ ามาสอนนั้ นเท ากับใบไม กํ ามื อเดี ยวนั้ น โดย พฤตินั ยแล ว เร่ืองปฏิ จจสมุปบาท ทั้ งหมดนี้ ก็คื อใบไม กํ ามื อเดี ยว ดั งที่ กล าวนั้ น; เรียกอี ก อยางหนึ่งก็คือ “อริยสัจโดยสมบูรณ”.

    อีกประการหนึ่ ง พึ งทราบวา เร่ืองอันเกี่ ยวกับปฏิ จจสมุปบาทเหล านี้ เป นเรื่องที่ ถู ก ทอดทิ้ ง จมอยู ในพระไตรปฏก ไมมี ใครคอยหยิบยกเอามาบอกกลาวสั่ งสอน รู สึกเปนที่น าสลดใจ, เนื่ องจากเปนเรื่องที่ เขาใจยาก, แปลยาก แปลออกมาแลวก็ยั งเอาใจความไมคอยจะได นาเบื่ อ แก การศึ กษาในรูปแบบธรรมดา จึ งถู กละเลยมองข ามไปตลอดเวลา ทํ าให จมนิ่ งอยู ในพระไตร- ปฏกส วนที่ ไม ค อยมี ใครสนใจ, ทั้ งที่ เป นหั วใจของพุทธศาสนา ที่ ทรงประสงค ใหสนใจศึกษา ในฐานะเปน จุดตั้งตนของพรหมจรรย ดังที่ปรากฏอยูที่หนา๒๓๙ แหงหนังสือเลมนี้แลว.

    การทํ าหนั งสื อเล มนี้ เป นงานหนั กเกินไปสําหรับข าพเจ าผู อยู ในวัยชรา ที่ จะทํ าตาม ลําพั งผู เดียวได แตก็ทํ าสําเร็จไปดวยความชวยเหลือรวมมือของเพื่ อนสพรหมจารีผู อยู ในวัยหนุ ม ช วยเป ดสํ ารวจหน าพระไตรป ฏกอย างทั่ วถึ ง เพื่ อรวบรวมเอาขอความที่ เกี่ ยวกับกับเรื่องนี้ มา ให ขาพเจาคัดเลือก รอยกรองและปรับปรุงสํานวนคําแปล เพื่ อให สําเร็จประโยชนดั งที่ เห็นอยู ในรูป แห งหนั งสือเลมนี้ .ทานผู ได รับประโยชนจากหนั งสือนี้ จงไดอนุ โมทนาและขอบคุณภิกษุ ผู เหน็ดเหนื่ อยเหลานั้ น โดยเฉพาะ ธมฺมวิจิตฺ โต ภิกฺขุ ซึ่ งไดชวยเหลือมาตั้ งแตตน จนกระทั่ ง การทําสารบัญ และปทานุกรม ทายเลม ดวยเพื่อรวมงานอีกบางคน ในหนาที่ดีพิมพตนฉบับ.

    ขาพเจามีประณิ ธานอยู วา ขอใหคําวา “อิทัปปจจยตา” และ “ปฏิจจสมุปบาท” ไดกลาย มาเปนคําที่ติดอยูที่ ริมฝปากของพุทธบริษัท ในการพูดประจําวัน สมกับที่ เร่ืองนี้ เปนทั้ งเนื้ อตัวและ หัวใจของพุทธศาสนา หรือเป นองคสมเด็ จพระศาสนา ที่ จะยั งประทับอยูกับพุ ทธบริษั ท ทั้งหลาย หลังจากที่ทรงลวงลับไปแลวโดยพระวรกาย, ตลอดกาลนาน.

    อ.ป. ในนามกองตําราแหงคณะธรรมทาน โมกขพลาราม, ไชยา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๒๑ [๘]

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • สารบัญ อักษรยอ คําปรารภ แถลงการณคณะผูจัดทํา

    ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ บทนํา วาดวย เร่ืองที่ควรทราบกอนเก่ียวกับปฏิจจสมุปบาท ๕ สังคีติกาจารยเลาเร่ืองการทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท หลังการตรัสรู ๕ สิ่งที่เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท ๑๑ เห็นปฏิจจสมุปบาท คือเห็นพระพุทธองค ๑๒ ปฏิจจสมุปบาท คืออริยญายธรรม (สิ่งที่ควรรูอันประเสริฐ) ๑๓ คนเราจิตยุง เพราะไมรูปฏิจจสมุปบาท ๑๕ ปฏิจจสมุปบาท เปนช่ือแหงทางสายกลาง ๑๕ ทรงแนะนําอยางย่ิงใหศึกษาเร่ืองปฏิจจสมุปบาท ๑๖ คนเราไมปรินิพพานในทิฏฐธรรมเพราะไมสามารถตัดกระแส แหงปฏิจจสมุปบาท ๑๗

    (ฝายปฏิปกขนัย) ๑๙ หมวดที่ ๑ วาดวย ลักษณะ – ความสําคัญ – และวัตถุประสงค ของเร่ืองปฏิจจสมุปบาท ๒๔

    ก. วาดวยลกัษณะ ๖ เร่ือง. ๒๕ ความหมายของปฏิจจสมุปบาท แตละอาการ ๒๕

  • ปฏิจจสมุปบาทแตละอาการเปนปฏิจจสมุปปนนธรรม ๒๙ ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อยางวิธีถามตอบ ๓๑ ปจจยาการแมเพียงอาการเดียวก็ยังตรัสเรียกวา ปฏิจจสมปุบาท (อิทิปปจจยตา) ๓๔ แมแสดงเพียงผัสสะใหเกิดเวทนาก็ยังเรียกวาปฏิจจสมปุบาท ๓๘ ทรงเปรียบปฏิจจสมุปบาทดวยการขึ้นลงของน้ําทะเล ๔๑

    (ข. วาดวย ความสําคญั ๖ เร่ือง) ๔๒ การเห็นปฏิจจสมุปบาท ช่ือวาการเห็นธรรม ๔๒ ปฏิจจสมุปบาทคือกฎแหงธรรมทิฏฐิ-ธรรมนิกาย (ในฐานะเปนกฎสูงสุดของธรรมชาติ) ๔๓ ปฏิจจสมุปบาท เปนเร่ืองลึกและดูลึก ๕๒ ปฏิจจสมุปบาท เปนเร่ืองลึกซ้ึงเทากับเร่ืองนิพพาน ๕๓ ผูแสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาทเทานั้นจึงช่ือวา "เปนธรรมกถึก ๕๙

    (ค. วาดวย วัตถุประสงค ๖ เร่ือง) ๖๑ ปฏิจจสมุปบาท ทําใหอยูเหนือความมีและความไมมีของสิ่งทั้งปวง ๖๑ ไมมีผูนั้น หรือผูอ่ืน ในปฏิจจสมุปบาท ๖๒ กายนี้ไมใชของใคร เปนเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท ๖๔ ปฏิจจสมุปบาทเปนธรรมท่ีทรงแสดงเพื่อไมใหรูสึกวามีสัตวบุคคลตวั ตนเราเขา(เพ่ือขจัดสัสสตทิฏฐิเปนตน) ๖๕ ปฏิจจสมุปบาท มีหลักวา"ไมมีตนเอง ไมมีผูอ่ืน ที่กอสุขและทุกข" ๖๘ การรูปฏิจจสมุปบาท เปนหลักการพยากรณอรหัตตผล ๗๑ หมวดที่ ๒ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทคือเร่ืองอริยสัจสมบูรณแบบ ๘๑ เร่ืองปฏิจจสมุปบาท คือเร่ืองอริยสัจ ๘๑ ปฏิจจสมุปบาททุกอาการมีลักษณะแหงความเปนอริยสัจสี่ ๘๔ ปฏิจจสมุทบาท ซ่ึงแสดงการกอข้ึนแหงทุกข ๙๖

  • ปฏิจจสมุทบาทซ่ึงแสดงการดับลงแหงทุกข ๙๘ อริยสัจในรูปแหงปฏิจจสมุทบาทมีในขณะแหงเวทนา ๑๐๑ อาการที่ยุงยากที่สุดของปฏิจจสมุทบาทคืออาการของตัณหา ๑๐๑ ความเหนียวแนนของสัสสตทิฏฐิปดบังการเห็นอริยสัจสี่จึงสงสัย ตอหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุทบาท ๑๐๖ นัตถิกทิฏฐิปดบังการเห็นอริยสัจสี่จึงสงสัยตอหลักของอริยสัจหรือ ปฏิจจสมุปบาท ๑๐๘ ปฏิจจสมุทบาทรวมอยูในบรรดาเร่ืองที่ใครคัดคานไมได ๑๑๒ หมวดที่ ๓ วาดวย บาลีที่แสดงวา ปฏิจจสมปุบาทไมใชเร่ืองขามภพ ขามชาติ ๑๒๓ ปฏิจจสมุปบาทมีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ(ไมตองขามภพ ขามชาติ) ๑๒๓ ปฏิจจสมุปบาทดับไดกลางสาย(โดยไมตองขามภพขามชาติ) ๑๒๕ นันทิเกิดเมื่อใด ก็มีปฏจิจสมุปบาทเมื่อนั้น ๑๒๗ นันทิดับเมื่อใด ปฏิจจสมุปบาทดบัเมื่อนั้น ๑๒๙ ในภาษาปฏิจจสมุปบาทกรรมใหผล ในอัตตภาพที่กระทํากรรม ๑๓๑ เห็นปฏิจจสมุปบาท คือฉลาดในเร่ืองกรรม ๑๓๗ นามรูปหย่ังลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอัสสาทะ ๑๓๘ นามรูปไมหย่ังลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอาทีนวะ ๑๓๙ ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสระคนกับปญจุปาทานขันธ ๑๔๑ หมวดที่ ๔วาดวย ปฏจิจสมุปบาทเกิดไดเสมอในชีวิตประจําวัน ของคนเรา ๑๔๙ ปฏิจจสมุปบาทจะมีไดแกทารกเฉพาะที่โตข้ึนถึงขนาดรูสึกยึดถือใน เวทนา ๑๔๙ ปจจยาการแหงเวทนา โดยละเอียด ๑๕๒

  • อายตนะ คือ จุดตั้งตนของปฏิจจสมุปบาท ๑๕๖ การเกิดข้ึนแหงไตรทวารข้ึนอยูกับการเกิดข้ึนแหงอวิชชาของปฏิจจ- สมปุบาท ๑๕๘ อวิชชาสัมผัสคือตนเหตุอันแทจริงของปฏิจจสมุปบาท ๑๖๓ นามรูปกาวลง เมื่ออนุสัยกอข้ึน ๑๖๖ ตัณหาเกิดข้ึน เมื่ออนุสัยกอข้ึน ๑๖๗ ภพใหมเกิดข้ึน เมื่ออนุสัยกอข้ึน ๑๖๙ การหย่ังลงแหงวิญญาณเกิดมีข้ึนเมื่อเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความ เปนอัสสาทะ ๑๗๐ การหย่ังลงแหงวิญญาณไมมีเพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความ เปนอาทีนวะ ๑๗๑ การเกิดแหงโลก คือการเกิดแหงกระแสปฏิจจสมุปบาท ที่เกิดขึ้นในใจคน ทุกคราวไป ๑๗๓ การดับแกโลก คือการดับแหงกระแสปฏิจจสมุปทาท ที่ดับลงในใจคน ทุกคราวไป ๑๗๕ หมวดที่ ๕วาดวย ปฏจิจสมุปบาทซ่ึงแสดงการเกิดดับแหงกิเลสและ ความทุกข ๑๘๓ ทรงแสดงอัตตวาทุปาทานในลักษณะแหงปฏิจจสมุปบาท (ในธรรมวนิัยนี้ มีการบัญญัติอุปาทานสี ่โดยสมบูรณ) ๑๘๓ เวทนาในปฏิจจสมุปบาท ใหเกิดอนุสัยสาม ๑๘๘ ปฏิจจสมุปบาทแหงการเกิดสังขาร ๔ ประเภท (สังขารชนิดที่หนึ่ง : ทิฏฐิปรารภขันธหา) ๑๙๒

    [กรณีแหงรูปขันธ] ๑๙๒ (กรณีแหงเวทนา-สัญญา-สังขาร-วิญญาณขันธ) ๑๙๕

    (สังขารชนิดที่ สอง : สัสสตทิฏฐิ) ๑๙๖

  • (สังขารชนิดที่ สาม : อุจเฉททิฏฐิ) ๑๙๗ (สังขารชนิดที่ สี่ : ลังเลในพระสัทธรรม) ๑๙๘ การดับตัณหาเสียไดกอนแตจะเกิดปฏิจจสมุปบาท ๑๙๙ การสิ้นกรรม ตามแบบของปฏิจจสมุปบาท ๒๐๒ อายตนะยังไมทําหนาที่ปญจุปาทานขันธ ก็ยังไมเกิด ๒๐๗ ปญจุปาทานขันธเพ่ิงจะมีเมื่อเกิดเวทนาในปฏิจจสมุปบาท ๒๑๓ การเกิดแหงโลก คือการเกิดแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๑๖ ทุกขเกิดเพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเปนอัสสทะ ๒๑๘ ทุกขเกิด เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอัสสาทะ ๒๑๙ แดนเกิดดับแหงทุกข-โรค-ชรามรณะ ๒๒๐

    (สูตรที่หนึ่ง : อายตนะภายใน หก) ๒๒๐ (สูตรที่สอง : อายตนะภายนอก หก) ๒๒๑ (สูตรที่ สาม : วิญญาณ หก) ๒๒๒ (สูตรที่ สี่ : ผัสสะ หก) ๒๒๒ (สูตรที่ หา : เวทนา หก) ๒๒๓ (สูตรที่ หก : สัญญา หก) ๒๒๓ (สูตรที่ เจ็ด : สัญเจตนา หก) ๒๒๔ (สูตรที่ แปด : ตัณหา หก) ๒๒๕ (สูตรที่ เกา : ธาต ุหก) ๒๒๕ (สูตรที่ สิบ : ขันธ หา) ๒๒๖

    การดับแหงโลก คือการดับแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๒๗ ปฏิจจสมุปบาท (นิโรธวาร)ที่ตรัสอยางเขาใจงายที่สุด ๒๒๙ ทุกขดับ เพราะเห็นอุปาทานิยธรรมโดยความเปนอาทีนวะ ๒๓๑ ทุกขดับ เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเปนอาทนีวะ ๒๓๓

  • หมวดที่ ๖วาดวย ปฏจิจสมุปบาท ที่ตรัสในรูปของการปฏิบัต ิ ๒๓๙ ตรัสวา เร่ืองปฏิจจสมุปบาทเปนเบื้องตนแหงพรหมจรรย ๒๓๙ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองเที่ยวแสวงหาครู ๒๔๕ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองทําการศึกษา ๒๔๖ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญโยคะ ๒๔๗ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองประกอบฉันทะ ๒๔๘ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญอุสโสฬหี ๒๔๙ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญอัปปฏิวาน ี ๒๕๐ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองประกอบความเพียรแผดเผา

    กิเลส ๒๕๑ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองประกอบวิริยะ ๒๕๒ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองประกอบการกระทําอันติดตอ ๒๕๓ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองอบรมสติ ๒๕๔ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองอบรมสัมปชัญญะ ๒๕๕ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาทยังมีหนาที่ ตองบําเพ็ญความไมประมาท ๒๕๖ ทรงมุงหมายใหปฏิจจสมุปบาทเปนเร่ืองการปฏิบัต ิ

    (มิใชเปนเพียงทฤษฎี) ๒๕๗ การหลีกเรนทําใหงายแกการรูปฏิจจสมุปบาท ๒๕๘ การคิดคนปฏิจจสมุปบาทก็คือการเดินตามอริยัฏฐังคิกมรรค ๒๖๒ ปฏิบัติเพ่ือการดับปฏจิจสมุปบาทช่ือวาปฏบิัติธรรมสมควรแกธรรม ๒๖๖ องคประกอบที่เปนบุพพภาคของการดับแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๖๘ ผัสสะ คือนิทานสัมภวะสวนมากของนิพเพธิกธรรม ๒๖๙ (เรื่องน้ีใสเขามาในฐานะที่เปนหลักธรรมทีช่วยปฏิบัติ) ๒๖๙ ปฏิจจสมุปบาทแหงการกําจัดอุปสรรคขณะเจริญสติปฏฐาน ๒๗๘

  • ปฏิจจสมุปบาท เพ่ือ สามัญญผลในปจจุบัน(๗ ประการ : อรหันต ๒, อนาคาม ี๕) ๒๘๐ ปฏิจจสมุปบาท เปนสิ่งท่ีตองเห็นดวยยถาภูตสัมมัปปญญา แมที่ยังเปนเสขะเปนอยางนอย ๒๘๒ แมการทําความเพียรในที่สงัดก็ยังตองปรารภขันธหา ตามวิธีการของปฏิจจสมุปบาท ๒๘๖ แมสุขทุกขในภายในก็เกิดข้ึนเพราะปรารภขันธหา ๒๘๗ ตนเง่ือนของปฏิจจสมุปบาทละไดดวยการเห็นธรรมทั้งปวงวาไม

    ควรยึดมั่น ๒๘๙ ตนเง่ือน แหงปฏิจจสมุปบาทละไดดวยการเห็นอนิจจัง ๒๙๑ อาการแหงอนิจจัง โดยละเอียด ๒๙๒ เคล็ดลับในการปดก้ันทางเกิดแหงปฏิจจสมุปบาท ๒๙๔ การพิจารณาปจจัยในภายในคอืการพิจารณาปฏิจจสมุปบาท ๓๐๖ ธรรมปฏิบตัิในรูปของปฏิจจสมุปบาทแหงการละองคสามตามลาํดับ ๓๑๖ วิธีปฏบิัติตออาหารที่สี่ในลักษณะที่เปนปฏิจจสมุปบาท ๓๒๓

    ก. วาดวยลกัษณะอาหารสี่ โดยอุปมา ๓๒๓ ข. วาดวยอาการเกิดดับแหงอาหารสี่ ๓๒๗

    ปญจุปาทานขันธไมอาจจะเกิดเมื่อรูเทาทันเวทนาในปฎิจจสมุปบาท๓๓๕ การพิจารณาสภาวธรรมตามวิธปีฎิจจสมุปบาทกระท่ังวาระสุดทาย ๓๓๗ อนุสัยไมอาจจะเกิดเมื่อรูเทาทันเวทนา ในปฏิจจสมุปบาท ๓๔๓ ปฎิจจสมุปบาทสลายตัวเมื่อรูแจงธรรมหา อันเปนที่ตั้งแหงอุปาทาน ๓๔๖ ญาณวัตถุ ๔๔ ในปฏจิจสมุปบาทเพ่ือความเปนโสดาบนั ๓๔๙ ญาณวัตถุ ๗๗ ในปฏจิจสมุปบาทเพ่ือความเปนโสดาบ ั ๓๕๗ การรูปฏิจจสมุปบาทไมเก่ียวกับการบรรลุอภิญญาเลยก็ได ๓๖๒ ปฏิจจสมุปบาทรอบสุดทายของคนเรา ๓๖๗

  • หมวดที่ ๗ วาดวย โทษของการไมรูและอานิสงสของการรู ปฏิจจสมุปบาท ๓๗๕

    จิตสัตวยุงเปนปมเพราะไมเห็นแจงปฏิจจสมุปบาท ๓๗๕ ผูไมรูปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแหงอริยสัจสี่ไมสามารถกาวลวง

    ปฏิจจสมุปปนนธรรม ๓๗๘ สําหรับผูที่ไมสามารถเขาใจปฏิจจสมุปบาทยึดถือกายเปนตัวตน

    ยังดีกวายึดถือจิตเปนตัวตน ๓๘๑ ทิฏฐิและการหย่ังลงแหงทิฏฐิเนื่องมาจากการยึดซ่ึงขันธทั้งหา ๓๘๓

    [๑. อัตรา-อัตตนิยานุทิฏฐิ] ๓๘๓ [๒. สัสสตทิฏฐิ (ธรรมดา)] ๓๘๕ [๓. อุจเฉททิฏฐิ (ธรรมดา)] ๓๘๖ [๔. มิจฉาทิฏฐิ] ๓๘๖ [๕. สักกายทิฏฐิ] ๓๘๗ [๖. อัตตานุทิฏฐิ] ๓๘๗ [๗. สัญโญชนาภินิเวสวินิพันธะ] ๓๘๘ [๘. สัญโญชนาภินิเวสวินิพันธาชโฌสานะ] ๓๘๘

    ไมควบคุมรากฐานแหงปฏิจจสมุปบาทจึงเกิดทุกข ๓๙๐ คนพาลกับบัณฑิตตางกันโดยหลักปฏิจจสมุปบาท ๓๙๑ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูปฏิจจสมุปบาท

    โดยนัยสี่ ๓๙๓ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูชรามรณะ

    โดยนัยสี่ ๓๙๘ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูชาติโดยนัยสี่ ๓๙๙ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูภพโดยนัยสี่ ๔๐๐

  • เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูอุปาทาน โดยนัยสี่ ๔๐๑

    เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูตัณหาโดยนัยสี่ ๔๐๒ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูเวทนาโดยนัยสี่ ๔๐๓ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูผัสสะโดยนัยสี่ ๔๐๔ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูสฬายตนะ

    โดยนัยสี่ ๔๐๕ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูนามรูปโดยนัยสี่ ๔๐๖

    เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูวิญญาณโดยนัยสี่๔๐๗ เปนสมณะหรือไมเปนสมณะข้ึนอยูกับการรูหรือไมรูสังขารโดยนัยสี่ ๔๐๘ ควบคุมรากฐานแหงปฏิจจสมุปบาทจึงเกิดสุข ๔๐๙ ปฏิจจสมุปบาทอาการหนึ่ง (นันทิใหเกิดทุกข)ถาเห็นแลวทําให

    หยุดความมั่นหมายในสิ่งทั้งปวง ๔๑๐ พอรูปฏิจจสมุปบาท ก็หายตาบอดอยางกะทันหัน ๔๒๒ เพราะรูปฏิจจสมุปบาทจึงหมดความสงสัยเร่ืองตัวตนทั้ง ๓ กาล ๔๒๔ การรูเร่ืองปฏิจจสมุปบาททําใหหมดปญหาเก่ียวกับขันธในอดีต

    และอนาคต ๔๒๕ ผลอานิสงส พิเศษ ๘ ประการของการเห็นปฏิจจสมุปบาท ๔๒๘ ผูรูปฏิจจสมุปบาท โดยอาการแหงอริยสัจทั้งสี่ยอมสามารถกาว

    ลวงปฏิจจสมุปปนนธรรม ๔๓๒ อานิสงส ของการถึงพรอมดวยทัสสนทิฏฐิ ๔๓๕

    สูตรที่ หนึ่ง ๔๓๕ สูตรที่สอง ๔๓๖ สูตรที่สาม ๔๓๖

  • สูตรที่สี่ ๔๓๗ สูตรที่หา ๔๓๗ สูตรที่หก ๔๓๘ สูตรที่เจ็ด ๔๓๘ สูตรที่แปด ๔๓๙ สูตรที่เกา ๔๓๙ สูตรที่สิบ ๔๔๐

    ผูเสร็จกิจในปฏิจจสมุปบาทช่ือวาผูบรรลุนิพพาน ในปจจุบัน ๔๔๑ อานิสงสสูงสุด (อนุปาทิเสสนิพพาน)ของการพิจารณาปฏิจจ-

    สมุปบาทอยางถูกวิธี ๔๔๔ อุปปริกขีในปฏิจจสมุปบาท เปนอุดมบุรุษ ๔๕๑ บัณฑิต คือผูฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๔๕๒ หมวดที่ ๘ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท เก่ียวกับความเปนพระพุทธเจา ๔๖๑ ทรงเดินตามรอย แหงพระพุทธเจาองคกอนๆ(ในกรณีของการคน

    เร่ืองปฏิจจสมุปบาท ๔๖๑ การคิดคนปฏิจจสมุปบาท กอนการตรัสรู ๔๖๙ การคิดคนปฏิจจสมุปบาทของพระพุทธเจาในอดีต ๖ พระองค ๔๗๔ ทรงบันลือสีหนาทเพราะทรงรูปจจัยแหงความเกิดและความดับ ๔๗๙ ทรงพยากรณแตอริยญายธรรมเทานั้น ๔๘๑ ทรงชักชวนวิงวอนเหลือประมาณในความเพียรเพ่ือกิจเก่ียวกับ

    ปฏิจจสมุปบาท ๔๘๕ ทรงแสดงธรรมเน่ืองดวยปฏิจจสมุปบาทมีความงามเบือ้งตน –

    ทามกลาง – เบื้องปลาย ๔๘๘ ศาสดาและสาวกยอมมีการกลาวตรงกันในเร่ืองปฏิจจสมุปบาท ๔๙๒

  • หมวด ๙ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท กับอริยสาวก ๕๐๓ ทรงกําชับสาวกใหเลาเรียนปฏิจจสมุปบาท ๕๐๓ ไมรูเร่ืองรากฐานแหงปฏิจจสมุปบาทก็ยังไมใชสาวกในศาสนาน้ี ๕๐๙ อริยสาวก ยอมรูปฏิจจสมุปบาทโดยไมตองเช่ือผูอ่ืน ๕๑๐ อริยญายธรรมคือการรูเร่ืองปฏิจจสมุปบาท ๕๑๒ การสนทนาของพระมหาสาวก (เร่ืองปฏิจจสมุปบาท) ๕๑๘ เวทนาของปุถุชน ตางจากของอริยสาวก (ในแงของปฏิจจสมุปบาท) ๕๒๖ อริยสาวกรูความเกิดและความดับของโลกอยางไมมีที่สงสัย ๕๓๐ พระโสดาบัน คือผูเห็นชัดปฏิจจสมุปบาทโดยวิธีแหงอริยสัจสี่ ๕๓๒ โสตาปตตยัิงคะข้ึนอยูกับการรูปฏิจจสมุปบาทของอริยสาวก ๕๓๘ สามัญญผลในพุทธศาสนาเทียบกันไมได กับในลัทธิอ่ืน ๕๔๒ หมวดที่ ๑๐ วาดวย ปฏิจจสมุปบาท นานาแบบ ๕๔๙ ปฏิจจสมุปบาท ที่ซอนอยูในปฏิจจสมุปบาท ๕๔๙ ปฏิจจสมุปบาทที่ตรัสโดยพระพุทธเจาวิปสส ี

    (: สุดลงเพียงแควิญญาณ) ๕๕๙ ปฏิจจสมุปบาทแบบท่ีตรัสเหมือนแบบของพระพุทธเจาวิปสส ี

    ( : สุดลงเพียงแควิญญาณ ) ๕๖๔ ปฏิจจสมุปบาทแบบท่ีตั้งตนดวย อารัมมณเจตน - ปกัปปน – อนุสยะ๕๖๙ ปฏิจจสมุปบาท (สมุทยวาร)ที่ตรัสอยางยอที่สุด ๕๗๒ ปฏิจจสมุปบาท (ทั้งสมุทยะและนิโรธวาร)ที่ตรัสอยางสั้นที่สุด ๕๗๓

    ปฏิจจสมุปบาทแหงอาหารสี่ ๕๗๕ ปฏิจจสมุปบาทแหงอาหารสี่เพ่ือภูตสัตว และ สัมภเวสีสัตว ๕๗๗ ปฏิจจสมุปบาท แหง อภัททกาลกิริยา(ตายชั่ว) ๕๗๙ ปฏิจจสมุปบาท แหงทุพพลภาวะ ของมนุษย ๕๘๐

  • ปฏิจจสมุปบาท แหง มิคสัญญีสัตถันตรกัป ๕๘๑ ปฏิจจสมุปบาทแหงอารัมมณลาภนานัตตะ(การไดอารมณ หก) ๕๘๕ ปฏิจจสมุปบาท แหงการปฏิบัติผดิโดยไตรทวาร ๕๘๗ ปฏิจจสมุปบาท แหงกามปฏบิัติชอบโดยไตรทวาร ๕๘๘ ปฏิจจสมุปบาท แหง การรบราฆาฟนกัน (ซ่ึงนาอัศจรรย) ๕๘๙ ปฏิจจสมุปบาท แหงกลวิวาทนิโรธ ๕๙๕ ปฏิจจสมุปบาท แหงการอยูอยางมี "เพ่ือนสอง" ๕๙๗ ปฏิจจสมุปบาท แหงการอยูอยางมี "เพ่ือนคนเดียว" ๕๙๘ ปฏิจจสมุปบาท แหง การอยูดวยความประมาท ๖๐๐ ปฏิจจสมุปบาท แหง ปปญจสัญญาสังขาสมุทาจรณะ ๖๐๑ ปฏิจจสมุปบาทแหงปปญจสัญญาอันทําความเนิ่นชา แก

    การละอนุสัย ๖๐๔ ปฏิจจสมุปบาท แหง การดับปปญจสัญญาสังขา ๖๑๒ ปฏิจจสมุปบาท ที่ย่ิงกวาปฏิจจสมุปบาท(มี ๒๔ อาการ) ๖๑๕ ปฏิจจสมุปบาท แหง อาหารของอวิชชา ๖๒๒ ปฏิจจสมุปบาท แหงอาหารของภวตัณหา ๖๒๖ ปฏิจจสมุปบาท แหง อาหารของวิชชาและวิมุตติ ๖๒๘ ปฏิจจสมุปบาทแหงวิชชาและวิมุตติ (โดยสังเขป) ๖๓๑ ปฏิจจสมุปบาท แหง ปฏิสรณาการ ๖๓๕ ปฏิจจสมุปบาท แหง สัจจานุโพธ และผลถัดไป ๖๓๖ ปฏิจจสมุปบาทแหงการอยูดวยความประมาทของอริยสาวก ๖๔๔ ปฏิจจสมุปบาท แหงการขาดที่อิงอาศัยสําหรับวิมุตติญาณทัสสนะ ๖๔๖ ปฏิจจสมุปบาทเพื่อความสมบูรณแหงอรหัตตผล ๖๔๙ ปฏิจจสมุปบาท แหง บรมสัจจะ ๖๕๑

  • ปฏิจจสมุปบาท แหง สุวิมุตตจิต ๖๕๓ ปฏิจจสมุปบาท แหง การปรินิพพานเฉพาะตน ๖๕๔ ปฏิจจสมุปบาท แหง การดับอุปาทานสี ่ ๖๕๖ ปฏิจจสมุปบาท แหง ความสิ้นสดุของโลก ๖๕๘ หมวดที่ ๑๑ วาดวย ลัทธิหรือทิฏฐิที่ขัดกันกับปฏิจจสมุปบาท

    ( : มิจฉาทิฏฐิ) ๖๖๕ สัมมาทิฏฐิ คือทิฏฐิที่ปราศจากอัตถิตาและนัตถิตา ๖๖๕ ปฏิจจสมุปบาท มีหลักวา "ไมมีตนเอง ไมมีผูอ่ืน ที่กอทุกข" ๖๖๗ แมทุกขในลัทธิทั้งหลายอื่นก็มีผัสสะเปนจุดตั้งตน ๖๗๐ พวกกัมมวาทีทุกพวก กับหลักปฏิจจสมุปบาท ๖๗๒ เง่ือนงําที่อาจนําไปสูสสัสตทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิในอาการหนึ่ง ๆ

    ของปฏิจจสมุปบาท ๖๗๖ โลกายตะ ๔ ชนิด ที่ทรงปฏิเสธ ๖๘๘ ทิฏฐิช้ันหัวหนา ๑๘ อยางลวนแตปรารภธรรมที่เปนฐานะ ๖ อยาง ๖๙๐

    [ทิฏฐิที่ ๑ : เอสิกัฏฐายิฏฐิตสัสสตทิฏฐิ] ๖๙๐ [ทิฏฐิที่ ๒ : อัตตา - อัตตนิยานุทิฏฐิ] ๖๙๒ [ทิฏฐิที่ ๓ : สัสสตทิฏฐิ (ทั่วไป)] ๖๙๒ [ทิฏฐิที่ ๔ อุจเฉททิฏฐิ(ทั่วไป)] ๖๙๓ [ทิฏฐิที่ ๕ : นัตถิกทิฏฐิ] ๖๙๓ [ทิฏฐิที่ ๖ : อกิริยทิฏฐิ] ๖๙๔ [ทิฏฐิที่ ๗ : อเหตุกทิฏฐิ] ๖๙๕ [ทิฏฐิที่ ๘ : สัตตกายทิฏฐิ] ๖๙๖ [ทิฏฐิที่ ๙ : สัสสตโลกทิฏฐิ] ๖๙๘ [ทิฏฐิที่ ๑๐ : อสัสสตโลกทิฏฐิ] ๖๙๘ [ทิฏฐิที่ ๑๑ : อันตวันตโลกทิฏฐิ] ๖๙๙

  • [ทิฏฐิที่ ๑๒ : อนันตวันตโลกทิฏฐิ] ๖๙๙ [ทิฏฐิที่ ๑๓ : ตังชีวตังสรีรทิฏฐิ] ๗๐๐ [ทิฏฐิที่ ๑๔ : อัญญังชีวอัญญังสรีรทิฏฐิ] ๗๐๐ [ทิฏฐิที่ ๑๕ : โหติตถาคโตทิฏฐิ] ๗๐๐ [ทิฏฐิที่ ๑๖ : นโหติตถาคโตทิฏฐิ] ๗๐๑ [ทิฏฐิที่ ๑๗ : โหติจนจโหติทิฏฐิ] ๗๐๑ [ทิฏฐิที่ ๑๘ : เนวโหตินนโหติทิฏฐิ] ๗๐๒

    ทิฏฐิ ๒๖ อยาง ลวนแตปรารภขันธหา ๗๐๔ [ทิฏฐิที่ ๑ : เอสิกัฏฐายิฏฐิตทิฏฐิ] ๗๐๔ [ทิฏฐิที่ ๒ : อัตตา - อัตตนิยานุทิฏฐิ] ๗๐๖ [ทิฏฐิที่ ๓ สัสสตทิฏฐิ (ทั่วไป)] ๗๐๖ [ทิฏฐิที่ ๔ อุจเฉททิฏฐิ (ทั่วไป) ๗๐๖ [ทิฏฐิที่ ๕ นัตถิกทิฏฐิ (ทั่วไป) ๗๐๖ [ทิฏฐิที่ ๖ อกิริยทิฏฐิ] ๗๐๗ [ทิฏฐิที่ ๗ : อเหตุกทิฏฐิ] ๗๐๘ [ทิฏฐิที่ ๘ : สัตตกายทิฏฐิ] ๗๐๙ [ทิฏฐิที่ ๙ : สัสสตโลกทิฏฐิ] ๗๑๐ [ทิฏฐิที่ ๑๐ : อสัสสตโลกทิฏฐิ] ๗๑๑ [ทิฏฐิที่ ๑๑ : อันตวันตโลกทิฏฐิ] ๗๑๑ [ทิฏฐิที่ ๑๒ : อันตวันตโลกทิฏฐิ] ๗๑๑ [ทิฏฐิที่ ๑๓ : อันตวันตโลกทิฏฐิ] ๗๑๑ [ทิฏฐิที่ ๑๔ : อัญญังชีวอัญญังสรีรทิฏฐิ] ๗๑๒ [ทิฏฐิที่ ๑๕ : โหติตถาคโตทิฏฐิ] ๗๑๒ [ทิฏฐิที่ ๑๖ : นโหติตถาคโตทิฏฐิ] ๗๑๒ [ทิฏฐิที่ ๑๗ : โหติจนจโหติทิฏฐิ] ๗๑๒

  • [ทิฏฐิที่ ๑๘ : เนวโหตินนโหติทิฏฐิ] ๗๑๓ [ทิฏฐิที่ ๑๙ : รูปอัตตาทิฏฐิ] ๗๑๓ [ทิฏฐิที่ ๒๐ : นโหติตถาคโตทิฏฐิ] ๗๑๓ [ทิฏฐิที่ ๒๑ : รูปจอรูปจอัตตาทิฏฐิ] ๗๑๔ [ทิฏฐิที่ ๒๒ : เนวรูปนารูปจอัตตาทิฏฐิ] ๗๑๔ [ทิฏฐิที่ ๒๓ : เอกันตสุขีอัตตาทิฏฐิ] ๗๑๔ [ทิฏฐิที่ ๒๔ : เอกันตทุกขีอัตตาทิฏฐิ] ๗๑๔ [ทิฏฐิที่ ๒๕ : สุขทุกขีอัตตาทิฏฐิ] ๗๑๕ [ทิฏฐิที่ ๒๖ : เอกันตทุกขีอัตตาทิฏฐิ ๗๑๕

    อันตคาหิกทิฏฐิ สิบ ๒,๒๐๐ นัยลวนแตเปนไปในขันธหา ลวนแตปดบังการเห็นปฏิจจสมุปบาท ๗๑๗

    ผัสสะ คือปจจัยแหงทิฏฐิ ๖๒ ๗๑๙ ทิฏฐิ ๖๒ เปนเพียงความรูสึกผิด ๆของผูไมรูปฏิจจสมุปบาท ๗๒๓ ผัสสะ (แหงปฏิจจสมุปบาท)คือที่มาของทิฏฐิ ๖๒ ๗๒๗ ทิฏฐิ ๖๒ เปนผลของการไมรูปฏจิจสมุปบาท ๗๓๒ [ หมวด ๑ ปุพพันตกัปปกวาท ๑๘ ประการ ] ๗๓๒ (ก. สัสสตทิฏฐิ ๔ ประการ) ๗๓๓ (ข.เอกัจจสัสสติก - เอกัจจอสัสสติกทิฏฐิ ๔ ประการ) ๗๓๖ (ค. อันตานันติกทิฏฐ ๔ ประการ) ๗๔๐ (ฆ. อมราวกิเขปกทิฏฐิ ๔ ประการ) ๗๔๓ (ง. อธิจจสมุปปนทิกทฏิฐิ ๒ ประการ) ๗๔๗ [หมวด ๒ อปรันตกัปปกวาท ๔๔ ประการ] ๗๕๐ (จ.อุทธมาฆตนิก ชนิด สัญญีทิฏฐิ ๑๖ ประการ) ๗๕๐ (ฉ.อุทธมาฆตนิก ชนิด อสัญญีทิฏฐิ ๘ ประการ) ๗๕๔ (ช.อุทธมาฆตนิก ชนิด เนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐิ ๘ ประการ) ๗๕๖

  • (ฌ. อุจเฉททิฏฐิ ๗ ประการ) ๗๕๘ (ญ. ทิฏฐธมัมนิพพานทิฏฐิ ๕ ประการ) ๗๖๓ ถารูปฏิจจสมุปบาทก็จะไมเกิดทิฏฐิอยางพวกตาบอดคลําชาง ๗๖๙ หมวดที่ ๑๒ วาดวย ปฏิจจสมุปบาทที่สอไปในทางภาษาคน

    -เพ่ือศีลธรรม ๗๗๙ ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อยางประหลาด ๗๗๙ ธาต ุ๓ อยางเปนที่ตั้งแหงความเปนไปไดของปฏิจจสมุปบาท ๗๙๐ บทสรุป วาดวย คุณคาพิเศษ ของปฏิจจสมุปบาท ๗๙๙ ปฏิจจสมุปบาทคือเร่ืองความไมมสีัตวบุคคลตัวตนเราเขา ๗๙๙ ที่สุดแหงปฏิจจสมุปบาทคือที่สุดแหงภพ ๘๐๒ ธรรมไหลไปสูธรรม โดยไมตองมีใครเจตนา ๘๐๕ แมพระพุทธองคก็ทรงสาธยายปฏิจจสมุปบาท(เกียรติสูงสุดของ

    ปฏิจจสมุปบาท) ๘๐๗ เร่ืองปฏิจจสมุปบาทรวมอยูในเรื่องที่พุทธบริษัทควรทําสังคีติ ๘๑๑ อายตนกุสลตา -ความเปนผูฉลาดในอายตนะ ๑ ๘๑๒ ปฏิจจสมุปบาทกุสลตา -ความเปนผูฉลาดในปฏิจจสมุปบาท ๑ ๘๑๒ ในหนังสือปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ(เรียงลําดับตามหลัก

    อักษรไทย)(จํานวน ๒,๕๗๖ คํา) ๘๑๕ ลําดับหมวดธรรมในหนังสือปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ (เรียงลําดับจากนอยไปหามากและตามลําดบัอักษร) (จํานวน๑,๔๑๔ หมวด) ๘๘๑ หมวดคํานวณไมได ๙๔๑

  • บทนํา วาดวย เรื่องที่ควรทราบ กอน

    เกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ๑

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • กฏอิทัปปจจยตา : หัวใจปฏิจจสมุปบาท.

    อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ยอมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ

    เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.

    อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไมมี สิ่งนี้ ยอมไมมี

    อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป.

    (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ลําดับเรื่องเฉพาะหมวด สําหรับปฏิจจสมุปบาทจากกพระโอษฐ บทนํา

    วาดวย เรื่องที่ควรทราบกอนเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท (มี ๘ เรื่อง)

    มีเรื่อง : สังคีติกาจารยเลาเรื่องการทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาทหลังการตรัสรู

    ---สิ ่งที ่เรียกวาปฏิจจสมุปบาท—เห็นปฏิจจสมุปบาทคือเห็นพระพุทธองค-- ปฏิจจ- สมุปบาทคืออริยญายธรรม--คนเราจิตยุ งเพราะไมรูปฏิจจสมุปบาท--ปฏิจจสมุปบาท เปนชื่อแหงทางสายกลาง—ทรงแนะนําอยางยิ่งใหศึกษาเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท--คนเรา ไมปรินิพพานในทิฏฐธรรมเพราะไมสามารถตัดกระแสแหงปฏิจจสมุปบาท.

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ

    บทนํา วาดวย เร่ืองที่ควรทราบกอนเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท

    สังคีติกาจารยเลาเรื่อง

    การทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท หลังการตรัสรู๑ ส มั ย นั้ น พ ร ะ พุ ท ธ เจ า ผู มี พ ร ะ ภ า ค ต รั ส รู แ ล ว ใ ห ม ๆ ยั ง ป ร ะ ทั บ อ ยู ที่

    โค น แ ห ง ไ ม โพ ธิ์ ใ ก ล ฝ ง แ ม น้ํ า เน รั ญ ช ร า ใ น เข ต ตํ า บ ล อุ รุ เว ล า . ค ร้ั ง นั้ น พ ร ะ ผู มี - พ ร ะ ภ า ค เจ า ป ร ะ ทั บ นั่ ง ด ว ย บั ล ลั ง ค อั น เดี ย ว ต ล อ ด เจ็ ด วั น ที่ โ ค น แ ห ง ไ ม โพ ธิ์ เสวยวิมุตติสุข.

    ลํ า ดั บ นั้ น พ ระ ผู มี พ ระ ภ าค เจ า ท รงก ระ ทํ า ม น สิ ก า รซึ่ ง ป ฏิ จ จ ส มุ ป บ าท

    โดยอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปฐมยามแหงราตรี ดังนี้ วา:-

    ๑ มหา.วิ.๔/๑/๑; ยังมีที่มาในที่อื่นอีก เชนในโพธิสูตรที่ ๑,๒,๓, แหงโพธิวรรค อุ.ขุ. ๒๕/๗๓/๓๘.

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา ๖

    “เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพ ราะมี ช าติ เป น ป จ จั ย , ช ราม รณ ะ โส กะป ริ เท วะทุ ก ข ะ โทมนั ส -

    อุ ป าย าสทั้ งห ล าย จึ ง เกิ ด ขึ้ น ค รบ ถ วน : ค วาม เกิ ด ขึ้ น พ ร อ ม แห งก อ งทุ ก ข ทั้ ง ส้ิ น นี้ ย อ ม มี ดวยอาการอยางนี้.

    เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือ แหงอวิชชานั้นนั่นเทียว,จึงมีความ

    ดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา;

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ๗วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

    เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับ แหงภพ; เพราะมีความดับ แหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพราะมีความดับ แหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขุ-

    โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้”, ดังนี้.

    ลําดับน้ัน ครั้นพระผูมีพระภาคเจา ทรงมีความรูสึกอยางนี้แลว

    ไดทรงเปลงอุทานนี้ขึ้น ในขณะนั้น วา :- “เมื่อใดเวย ธรรมทั้งหลาย เปนของแจมแจง แกพราหมณ ผูมีความเพียร เพงพินิจอยู; เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณนั้น ยอมหายไป เพราะพราหมณนั้น รูทั่วถึงธรรม พรอมทั้งเหตุ”, ดังนี้. ลําดับน้ัน พระผูมีพระภาคเจา ทรงกระทํามนสิการซึ่งปฏิจจสมุปบาท

    โดยอนุโลมและปฏิโลม ตลอดมัชฌิมยามแหงราตรี ดังนี้ วา :- “เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ;

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา ๘

    เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพราะมีชาติ เปนปจจัย, ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัส-

    อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมีดวยอาการอยางนี้.

    เพราะความจางคลายดับไปไมเหลือ แหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมี

    ความดับแหงสังขาร; เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา; เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับ แหงภพ; เพราะมีความดับ แหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพราะมีความดับ แหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ-

    โทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้” , ดังนี้.

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ๙วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

    ลําดับน้ัน ครั้นพระผูมีพระภาคเจา ทรงมีความรูสึกอยางนี้แลว ไดทรง เปลงอุทานนี้ขึ้น ในขณะนั้น วา :-

    “เมื่อใดเวย ธรรมทั้งหลาย เปนของแจมแจง แกพราหมณ ผูมีความเพียร เพงพินิจอยู; เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวงของพราหมณนั้น ยอมหายไป เพราะพราหมณนั้น ไดรับแลวซ่ึงความสิ้นไปแหงปจจยธรรม ท.”, ดังนี้. ลําดับน้ัน พระผูมีพระภาคเจา ทรงกระทํามนสิการซึ่งปฏิจจสมุปบาท

    โดยอนุโลมและปฏิโลม ตลอดปจฉิมยามแหงราตรี ดังนี้ วา :- “เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย; เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ; เพราะมีชาติ เป นป จจ ัย ชรามรณะ โสกะปร ิเทวะท ุกขะโทมน ัส -

    อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา ๑๐

    เพ ราะค วาม จา งคล ายด ับ ไป ไม เห ล ือ แห งอ ว ิช ช านั ้น นั ่น เท ีย ว , จึงมีความดับแหงสังขาร;

    เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา; เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอุปาทาน; เพราะมีความดับ แหงอุปาทาน จึงมีความดับ แหงภพ; เพราะมีความดับ แหงภพ จึงมีความดับ แหงชาติ; เพ ราะมี ความดับ แห งชาติ นั่ น แล ชรามรณ ะ โสกะปริ เทวะทุ กขะ -

    โทมนัสอุปายาสทั้ งหลาย จึงดับสิ้ น : ความดับลงแห งกองทุกขทั้ งสิ้ นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้”, ดังนี้.

    ลําดับน้ัน ครั้นพระผูมีพระภาคเจา ทรงมีความรูสึกอยางนี้ แลว ไดทรง

    เปลงอุทานนี้ขึ้น ในขณะนั้น วา :- “เมื่อใดเวย ธรรมทั้งหลาย เปนของแจมแจง แกพราหมณ ผูมีความเพียร เพงพินิจอยู; เมื่อนั้นพราหมณนั้นยอมแผดเผามารและเสนาใหสิ้นไปอยู เหมือนพระอาทิตย (ขจัดมืด) ยังอากาศใหสวางอยู ฉะนั้น”, ดังนี้.

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ๑๑ วาดวยเรื่องที่ควรทราบกอนกของปฏิจจ ฯ

    สิ่งที่เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท๑ ครั้งหนึ่ง ที่พระเชตวัน พระผูมีพระภาคเจา ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลาย ใหตั้งใจฟงแลว

    ไดตรัสขอความเหลานี้วา :- “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! เราจักแสดง ปฏิจจสมุปบาท แกพวกเธอทั้งหลาย,

    พวกเธอทั้งหลายจงฟง ปฏิจจสมุปบาท นั้น, จงทําในใจใหสําเร็จประโยชน, เราจักกลาว บัดนี้”.

    ครั้นภิกษุทั้งหลายเหลานั้น ทูลสนองรับพระพุทธดํารัสแลว, พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัส

    ถอยคําเหลานี้วา :- “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! อะไรเลา ที่เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท? ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! :

    เพราะมีอวิชชา เปนปจจัย จึงมี สังขารทั้งหลาย. เพราะมีสังขาร เปนปจจัย จึงมี วิญญาณ; เพราะมีวิญญาณ เปนปจจัย จึงมี นามรูป; เพราะมีนามรูป เปนปจจัย จึงมี สฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะ เปนปจจัย จึงมี ผัสสะ; เพราะมีผัสสะ เปนปจจัย จึงมี เวทนา; เพราะมีเวทนา เปนปจจัย จึงมี ตัณหา; เพราะมีตัณหา เปนปจจัย จึงมี อุปาทาน; เพราะมีอุปาทาน เปนปจจัย จึงมี ภพ; เพราะมีภพ เปนปจจัย จึงมี ชาติ;

    ๑ สูตรที่ ๑ พุทธวรรค นิทานสังยุตต นิทาน. สํ.๑๖/๑/๑, ตรัสแกภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.

    www.buddhadasa.info

    www.buddhadasa.info

  • ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ – บทนํา

    ๑๒

    เพ ราะม ีชาต ิ เป นป จจ ัย , ชรามรณะ โสกะปร ิเวทะท ุกขะโทมน ัส - อุปายาสทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถวน : ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้ งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.

    ดูกอนภิกษุทั้งหลาย! นี้เรียกวา ปฏิจจสมุปบาท. เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือ แหงอวิชชานั้นนั่นเทียว, จึงมีความดับแหงสังขาร;

    เพราะมีความดับ แหงสังขาร จึงมีความดับ แหงวิญญาณ; เพราะมีความดับ แหงวิญญาณ จึงมีความดับ แหงนามรูป; เพราะมีความดับ แหงนามรูป จึงมีความดับ แหงสฬายตนะ; เพราะมีความดับ แหงสฬายตนะ จึงมีความดับ แหงผัสสะ; เพราะมีความดับ แหงผัสสะ จึงมีความดับ แหงเวทนา; เพราะมีความดับ แหงเวทนา จึงมีความดับ แหงตัณหา; เพราะมีความดับ แหงตัณหา จึงมีความดับ แหงอ